T-LIBRARIES ห้องสมุดอ่าน ได้รู้ สนุก +คลังสมอง
  • รายชื่อห้องสมุด
  • มุมสาระน่ารู้
    • จากหนังสือเป็นอีบุ๊ค ?
    • ห้องสมุด e-Meeting Solution Conference Solution
    • Food Aroi Blog
      • หม้อทอดไร้น้ำมันเมนูอาหารอร่อยๆๆ
      • รวมเมนูอาหารญ๊่ปุ่นอร่อยๆๆๆ
    • เคล็ดลับเก็บ-ปั่น-สกัดเย็นผักผลไม้ทำอา&
  • ห้องสมุดคาทอลิก
    • สารวัดคาทอลิกอีบุ๊ค
      • วัดพระมหาไถ่ กรุงเทพฯ
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
        • 2019/2562
      • วัดกาลหว่าร์
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
      • วัดเซนต์หลุยส์ กรุงเทพฯ
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
      • วัดพระมารดานิจจานุเคราะห์ คลองจั่น
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
      • วัดนักบุญเปาโล บ้านนา
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
      • วัดนักบุญเปโตร สามพราน
        • 2022/2565
      • วัดดวงหทัยนิรมลของแม่พระ (วัดปากลัด)
      • วัดนักบุญยอแซฟ ตรอกจันทร์
      • อาสนวิหารอัสสัมชัญ
    • มุมคาทอลิก
  • เกี่ยวกับเรา
    • ติดต่อเรา
  • รายชื่อห้องสมุด
  • มุมสาระน่ารู้
    • จากหนังสือเป็นอีบุ๊ค ?
    • ห้องสมุด e-Meeting Solution Conference Solution
    • Food Aroi Blog
      • หม้อทอดไร้น้ำมันเมนูอาหารอร่อยๆๆ
      • รวมเมนูอาหารญ๊่ปุ่นอร่อยๆๆๆ
    • เคล็ดลับเก็บ-ปั่น-สกัดเย็นผักผลไม้ทำอา&
  • ห้องสมุดคาทอลิก
    • สารวัดคาทอลิกอีบุ๊ค
      • วัดพระมหาไถ่ กรุงเทพฯ
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
        • 2019/2562
      • วัดกาลหว่าร์
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
      • วัดเซนต์หลุยส์ กรุงเทพฯ
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
      • วัดพระมารดานิจจานุเคราะห์ คลองจั่น
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
      • วัดนักบุญเปาโล บ้านนา
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
      • วัดนักบุญเปโตร สามพราน
        • 2022/2565
      • วัดดวงหทัยนิรมลของแม่พระ (วัดปากลัด)
      • วัดนักบุญยอแซฟ ตรอกจันทร์
      • อาสนวิหารอัสสัมชัญ
    • มุมคาทอลิก
  • เกี่ยวกับเรา
    • ติดต่อเรา
T-Libraries
​ห้องสมุดออนไลน์

หนังสือตัวรูปเล่มกระดาษไปเป็นอีบุ๊ค ?

6/28/2016

0 Comments

 
หลายคนที่เป็นนนักเขียน เจ้าของสิ่งพิมพ์ มีคำถามอยากทำเป็นอีบุ๊คทำอย่างไร ?
จริงๆแล้ว อีบุ๊ค E-Book เป็นการทำสิ่งพิมพ์เราให้เป็นรูปแบบอิเลคทรอนิกส์ที่ให้คนสามารถเปิดอ่านได้ แต่เปิดแบบไหนว่ากันอีกที เพราะยุคดิจิตอลทำให้เกิดสิ่งหลากหลายและอำนวยความสะดวกมากมาย พร้อมกับคำนิยามอีกเยอะแยะ
ในตัวอีบุ๊ค มีหลากหลายประเภท เช่น ไฟล์ PDF, Word, Excel etc. ถือเป็นอีบุ๊คได้ไหม คำตอบคือ ได้ค่ะ เพียงแต่การแสดงผลไม่เหมือนการเปิดหนังสือจริง
อ้าว ! แล้วที่เห็นเปิดเหมือนจริง และดูมือถือได้ล่ะ นั่นก็เป็นอีบุ๊คใช่ไหม ก็ตอบว่า ใช่ค่ะ เรียกว่า อีบุ๊คที่แสดงผลเสมือนหนังสือจริงๆ หรือจัดเป็นอีกประเภทหนึ่ง สรุปแล้วอีบุ๊คมีหลายประเภทค่ะ แต่ที่เรารู้จัก เช่น amazon, apple, เป็นต้น เพราะเกิดจากแต่ละที่พยายามสร้างรูปแบบของอีบุ๊คกันขึ้นมาทำให้มีรูปแบบได้หลากหลายกันไป และทำให้ต้องมีการโหลดแอฟเพื่อเข้าไปอ่านอีบุ๊คกันได้ เยอะจริงๆๆๆ
ประเภทอีบุ๊ค มีดังนี้
  • 1.1 Broadband eBooks (BBeB)
  • 1.2 Comic Book Archive file
  • 1.3 Compiled HTML
  • 1.4 DAISY – ANSI/NISO Z39.86
  • 1.5 DjVu
  • 1.6 DOC
  • 1.7 DOCX
  • 1.8 EPUB
  • 1.9 eReader
  • 1.10 FictionBook (Fb2)
  • 1.11 Founder Electronics
  • 1.12 Hypertext Markup Language
  • 1.13 iBook (Apple)
  • 1.14 IEC 62448
  • 1.15 INF (IBM)
  • 1.16 KF8 (Amazon Kindle)
  • 1.17 Microsoft LIT
  • 1.18 Mobipocket
  • 1.19 Multimedia eBooks
  • 1.20 Newton eBook
  • 1.21 Open Electronic Package
  • 1.22 Portable Document Format
  • 1.23 Plain text files
  • 1.24 Plucker
  • 1.25 PostScript
  • 1.26 RTF
  • 1.27 SSReader
  • 1.28 Text Encoding Initiative
  • 1.29 TomeRaider
  • 1.30 Open XML Paper Specification
แหล่งอ้างอิง คลิกที่นี่เพื่อดูประเภทอีบุ๊ค

ดังนั้น หากบอกว่า ดูอีบุ๊คบนมือถือด้วย จะเห็นว่า มีการบอกว่า ให้โหลดแอฟ เพื่อจะได้อ่านเหมือนกับอ่านในหนังสือ แต่ข้อเสีย คือเปลื้องพื้นที่ และต้องนั่งดูว่า แอฟไหนใช้อ่านอะไร ไม่สะดวกเลยจ้า
แต่มีการทำอีบุ๊คอีกประเภทที่ไม่ต้องอาศัพแอฟ แต่ต้องใช้เบราเซอร์ดู ซึ่งในที่นี่ต้องเปิดออนไลน์ไว้ถึงจะดูได้จ้า แต่ข้อดีคือไม่เปลืองพื้นที่ในมือถือไม่ต้องจดจำอะไรมากมายๆ ใช้แอฟอะไร เพียงแต่ลูกเล่นไม่เป็นเหมือนอ่านหนังสือหากดูผ่านมือถือเป็นสไลด์ ด้วยข้อจำกัดของเบราเซอร์
แต่ไม่นานคิดว่า น่าจะเปิดอ่านได้เหมือนหนังสือ ไม่จำเป็นต้องใช้แอฟ เพียงแต่เวลาดูผ่านมือถือเป็นสไลด์เท่านั้นเอง
หากสนใจ และอยากทำอีบุ๊ค สามารถติดต่อ หรือ สอบถามได้ที่ บริษัท ทริปเปิ้ล ซิสเต็มส์ จำกัด
ทำได้ในรูปแบบอีบุ๊คเปิดผ่านเบราเซอร์ และดูผ่านอุปกรณ์มือถือต่างๆ สำหรับดูผ่านมือถือเป็นสไลด์ซ้ายไปขวา ส่วนบนพีซีเหมือนเปิดหนังสือ พร้อมทั้งมีอีบุ๊คให้ดูออฟไลน์ สำหรับบนวินโดว์ และเครื่องแมค ที่เปิดดูเหมือนหนังสือโดยใช้ flash ตัวทำให้การเคลื่อนไหวสวยงามเสมือนเปิดหนังสือจริงด้วย

ขออภัยยังไม่ถึงตัวเล่มเลย สำหรับไฟล์ตัวเล่มหนังสือแนะนำให้ผู้เขียน หากเขียนเป็นกระดาษ อยากให้จ้างคนมาพิมพ์ หรือ พิมพ์เองเป็นไฟล์ไว้ เพราะการทำตัวเล่มมีวิธีการทำอีกมากมาย เช่นทำไฟล์ เวลิด แล้วหากต้องการมีหน้าปกสวยๆ ก็ต้องจ้างคนมาออกแบบ หรือ หากต้องการให้รูปเล่มเมื่อพิมพ์มีขนาดหน้ากระดาษ A4 หรือ A5 (ครึ่งหนึ่งของ A4) ซึ่งทำให้จำนวนหน้าไม่เท่ากัน ซึ่งเป็นการจัดวางหน้า หากมีลวดลายต้องให้คนช่วยออกแบบให้ ในส่วนนี้ เป็นการจัดวางหน้า

หลังจากได้รูปเล่มเสร็จ ขั้นตอนต่อไปคือ การพิสูจน์ตัวอักษร คือ ดูคำสะกดตกหล่น แต่ผู้ที่พิสูจน์จะไม่สนใจความหมายอันนี้ก็ยากในมุมคนที่ต้องมาพิสูจน์ตัวอักษร คำสะกดว่าถูกหรือไม่ จึงทำให้ต้องมีต้นฉบับของนักเขียน เพื่อมีข้อมูลในการปรับปรุงต้นฉบับหนังสือ

สุดท้ายมีการรวบรวมเป็นตัวเล่ม และสร้างไฟล์ที่สามารถนำมาพิมพ์เป็นรูปเล่มหนังสือ ที่เป็นกระดาษได้ ส่วนใหญ่ใช้ไฟล์ PDF เพราะไม่มีการแก้ไข

สุดท้ายสามารถนำไฟล์ PDF นี้มาแปลงร่างเป็นอีบุ๊คในรูปแบบต่างๆ แล้วแต่นักเขียนอยากให้เป็นแบบไหน และมีเงื่อนไขในส่วนผลประโยชน์หากวางขาย

ไม่ง่าย แต่ก็ไม่ยากส์

สิ่งที่คนเขียนกล้วในการทำอีบุ๊ค
-กลัวคนก๊อปปี้
-กลัวการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ไม่เป็น
-และอื่นๆ  
ไว้คราวหน้าจะมาเขียนว่า ไม่ควรกลัวเพราะมีหลายสิ่งหลายอย่างเกิดขึ้นเป็นประโยชน์ด้วยซ้ำค่ะ :D
0 Comments



Leave a Reply.

    Author

    เป็นนักเขียนอิสระ สมัครเล่น เขียนจากประสบการณ์ที่ทำ อ่าน จากหนังสือ

    Archives

    February 2019
    July 2016
    June 2016

    Categories

    All

    RSS Feed

  • สมาชิกอ่านฟรี
  • t-libraries ?
Picture
Picture
Picture

Picture
Site supported by  Triple Systems
  • รายชื่อห้องสมุด
  • มุมสาระน่ารู้
    • จากหนังสือเป็นอีบุ๊ค ?
    • ห้องสมุด e-Meeting Solution Conference Solution
    • Food Aroi Blog
      • หม้อทอดไร้น้ำมันเมนูอาหารอร่อยๆๆ
      • รวมเมนูอาหารญ๊่ปุ่นอร่อยๆๆๆ
    • เคล็ดลับเก็บ-ปั่น-สกัดเย็นผักผลไม้ทำอา&
  • ห้องสมุดคาทอลิก
    • สารวัดคาทอลิกอีบุ๊ค
      • วัดพระมหาไถ่ กรุงเทพฯ
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
        • 2019/2562
      • วัดกาลหว่าร์
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
      • วัดเซนต์หลุยส์ กรุงเทพฯ
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
      • วัดพระมารดานิจจานุเคราะห์ คลองจั่น
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
      • วัดนักบุญเปาโล บ้านนา
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
      • วัดนักบุญเปโตร สามพราน
        • 2022/2565
      • วัดดวงหทัยนิรมลของแม่พระ (วัดปากลัด)
      • วัดนักบุญยอแซฟ ตรอกจันทร์
      • อาสนวิหารอัสสัมชัญ
    • มุมคาทอลิก
  • เกี่ยวกับเรา
    • ติดต่อเรา