T-LIBRARIES ห้องสมุดอ่าน ได้รู้ สนุก +คลังสมอง
  • รายชื่อห้องสมุด
  • มุมสาระน่ารู้
    • จากหนังสือเป็นอีบุ๊ค ?
    • ห้องสมุด e-Meeting Solution Conference Solution
    • Food Aroi Blog
      • หม้อทอดไร้น้ำมันเมนูอาหารอร่อยๆๆ
      • รวมเมนูอาหารญ๊่ปุ่นอร่อยๆๆๆ
    • เคล็ดลับเก็บ-ปั่น-สกัดเย็นผักผลไม้ทำอา&
  • ห้องสมุดคาทอลิก
    • สารวัดคาทอลิกอีบุ๊ค
      • วัดพระมหาไถ่ กรุงเทพฯ
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
        • 2019/2562
      • วัดกาลหว่าร์
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
      • วัดเซนต์หลุยส์ กรุงเทพฯ
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
      • วัดพระมารดานิจจานุเคราะห์ คลองจั่น
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
      • วัดนักบุญเปาโล บ้านนา
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
      • วัดนักบุญเปโตร สามพราน
        • 2022/2565
      • วัดดวงหทัยนิรมลของแม่พระ (วัดปากลัด)
      • วัดนักบุญยอแซฟ ตรอกจันทร์
      • อาสนวิหารอัสสัมชัญ
    • มุมคาทอลิก
  • เกี่ยวกับเรา
    • ติดต่อเรา
  • รายชื่อห้องสมุด
  • มุมสาระน่ารู้
    • จากหนังสือเป็นอีบุ๊ค ?
    • ห้องสมุด e-Meeting Solution Conference Solution
    • Food Aroi Blog
      • หม้อทอดไร้น้ำมันเมนูอาหารอร่อยๆๆ
      • รวมเมนูอาหารญ๊่ปุ่นอร่อยๆๆๆ
    • เคล็ดลับเก็บ-ปั่น-สกัดเย็นผักผลไม้ทำอา&
  • ห้องสมุดคาทอลิก
    • สารวัดคาทอลิกอีบุ๊ค
      • วัดพระมหาไถ่ กรุงเทพฯ
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
        • 2019/2562
      • วัดกาลหว่าร์
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
      • วัดเซนต์หลุยส์ กรุงเทพฯ
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
      • วัดพระมารดานิจจานุเคราะห์ คลองจั่น
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
      • วัดนักบุญเปาโล บ้านนา
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
      • วัดนักบุญเปโตร สามพราน
        • 2022/2565
      • วัดดวงหทัยนิรมลของแม่พระ (วัดปากลัด)
      • วัดนักบุญยอแซฟ ตรอกจันทร์
      • อาสนวิหารอัสสัมชัญ
    • มุมคาทอลิก
  • เกี่ยวกับเรา
    • ติดต่อเรา
T-Libraries
​ห้องสมุดออนไลน์

ทำอย่างไรให้หนังสือขายได้และอีบุ๊คในเมืองไทยไปสู่ดิจิตอล 4.0

2/15/2019

0 Comments

 

กลัวอีบุ๊คมาแล้วหนังสือขายไม่ได้...เปลี่ยนวิกฤตเป็นโอกาส...อย่างไร..e-book และหนังสือรูปเล่มกระดาษไปด้วยกันได้

โรงพิมพ์ สำนักพิมพ์ คนเขียน คนขายหนังสือ กลัวอีบุ๊ค ทำให้เขาธุรกิจไปไม่ได้...จริงๆแล้วเป็นอย่างนั้นหรือไม่ อาจเป็นหรือไม่เป็นขึ้นมุมมอง
ในการจัดการสิ่งที่กลัว เปลี่ยนความกลับเป็นความกล้า เปลี่ยนวิกฤตเป็นโอกาส
เคยไปอ่านบทความนักเขียนคนหนึ่ง ซึ่งปัจจุบันเป็นวิทยากรไปแล้ว เขาเล่าว่า เดิมเขาเป็นนักเขียน ทางด้านวิชาการ ความรู้ กลัวมากเมื่อมาถึงยุคดิจิตอล คือ e-book ซึ่งตอนแรกเป็นรูปแบบ PDF ซึ่งกลัวคนทำซ้ำ ซื้อครั้งเดียวจบ ขายไม่ได้
ในที่สุดสิ่งที่เขากลัวก็เป็นจริง แต่ขณะเดียวกันมีเสียงสะท้อนที่มาผ่าน Facebook หรือ ทางเมล์ ที่มีกลุ่มคนที่ชอบการเขียนของเขา และไปบอกต่อ ให้กำลังใจ และยังซื้อหนังสือเขาด้วย
สิ่งที่เขาประหลาดใจคือ มีคนที่ได้อ่านฟรีจากหนังสือที่เขาขาย และเพื่อนให้ฟรีเขาอ่าน แบบ copy ส่งต่อ คนนั้นกลับบอกว่า เขาเริ่มซื้อเล่มอื่นๆด้วย มีความประทับใจในเนื้อหาที่ผู้ผลิตหนังสือสำหรับคนที่เคยได้อ่านฟรีจากเพื่อนๆแชร์มามันมีคุณค่าต่อคนอื่นคนนั้น โดยเขาเป็นแฟนพันธุ์แท้ของนักเขียนเล่มนั้นพร้อมกับติดตามบทความ หนังสือต่างๆ 
สำหรับผู้เขียนหนังสือนั้น หาทางที่จะแก้ไขคน copy หรือละเมิด แต่เปลี่ยนใจ ดังคำ พ่อแผ่นดินสอน "เปลี่ยนวิกฤต เป็นโอกาส" คือ คนที่ชอบการเขียนมากและเห็นสิ่งทีเขาบอก มีประโยชน์ ได้เชิญมาเป็นวิทยากร ซึ่งตอนแรกนักเขียนไม่กล้า ตอนหลังเขาดีใจที่เปลี่ยนวิกฤต ที่ยอดหนังสือตก และรู้สึกแย่มากการทำซ้ำ การเอาหนังสือเขาไปแจกฟรีให้คนอื่นๆ อ่าน แต่ปรากฏว่า ผลที่ได้รับ คือ การแชร์/การให้ฟรี เป็นการประชาสัมพันธ์การตลาดแบบปากต่อปากที่แพร่ไปได้เร็ว และผู้เขียนหนังสือได้แปรผันตัวเองเป็นวิทยาการ ซึ่งทำให้เขาพัฒนาตนเองทักษะการพูด หลังจากเขียน และมุมมองที่ว่า ทุกๆอย่าง มีสิ่งดีอยู่ในนั้นคือ
การที่งานเขามีคนเอาไปทำซ้ำ เป็นการเผยแพร่ ทางตลาด แบบ ปากต่อปาก และมีทั้งกลุ่มคนที่เห็นคุณค่า งานที่เขาทำ การที่เขาให้ก่อนทำให้เกิดประโยชน์ต่างเขามากมาย ปัจจุบันเขาดีใจที่ตัวเขาเองพัฒนาหลายๆ ด้าน ทั้งเขียน พูด รวมถึงมุมมองที่กว้าง และทุกๆ อย่างทำได้ ถ้าคุณ เปลี่ยนความคิด/พฤติกรรมการยึดติด อย่าลืมว่า เทคโนโลยีไปไว เราเองก็ต้องปรับเปลี่ยน และใช้มันให้เป็น
อย่ากลัวมีอีบุ๊คขายไม่ได้ แต่เปลี่ยนวิกฤตเป็นโอกาส โดยจัดทำอีบุ๊คให้เป็นการเสริมคุณค่า การเผยแพร่ ให้กับหนังสือที่เป็นรูปเล่ม
อย่าให้ความรู้ สาระหนังสือ หรือ สิ่งดีๆที่มีอยู่ในหนังสือต้องหยุดที่รูปเล่ม ให้มันเผยแพร่ความรู้ คุณค่า สิ่งดีๆให้คนอ่าน ซึ่งโลกออนไลน์มีสิ่งที่ดีและไม่ดี เราไม่ช่วยกันเผยแพร่สิ่งดี ในส่วนแนวความคิด ไอเดีย ที่ดีให้สังคมออนไลน์นี้บ้างหรือ
มีหลายคนเข้าใจคุณค่าหนังสือ เขายินดีที่ซื้อ อย่ากลัวเลย ใช้อีบุ๊คตัวช่วยการทำตลาดออนไลน์ คนที่ทำไม่ดีจะได้ปลูกฝังการทำดีในส่วนสิทธิต่างๆ ไม่ว่า มุมการซื้อมาอ่าน และอยากเก็บรูปเล่มเป็นของขวัญ ดูอย่างยักษ์ใหญ่ amazon.com เริ่มจากขายหนังสือรูปเล่ม ไม่มีหน้าร้านแต่บนโลกออนไลน์เขายิ่งใหญ่ แบบไม่กลัวการ copy ตอนนี้เป็นแหล่งขายอีบุ๊คที่ใครๆ ก็รู้จักจนถึงปัจจุบัน

0 Comments

งานตัวอย่างการทำอีบุ๊คในรูปแบบต่างๆ

7/1/2016

1 Comment

 
ตัวอย่าง การทำอีบุ๊ค ในรูปแบบที่เปิดผ่านเบราเซอร์ทุกอุปกรณ์
แบบออนไลน์ในรูปแบบ Company History คลิกที่นี่
แบบออนไลน์ในรูปแบบ Company History สำหรับระบบปฏิบัติการ Windows, Mac

คำว่า ออนไลน์ สำหรับการดูอีบุ๊ค นั่นหมายถึงเข้าไปดูได้ตลอด 24 ชั่วโมง และดูผ่านการเชื่อมต่อแบบอินเตอร์เน็ท ในส่วนที่เรานำมาเป็นตัวอย่าง เป็นประเภทหนึ่งของอีบุ๊คที่ไม่ต้องการลงโปรแกรมใดๆ เพิ่มเติม เนื่องจากดูผ่านเบราเซอร์ และการที่ตัวอีบุ๊คสามารถแสดงเสมือนการพลิกกระดาษซึ่งต้องอาศัยโปรแกรมที่เล่นและแสดงให้เคลื่อนไหวสวยงามคือ โปรแกรม Flash
โดยปกติคอมพิวเตอร์ หรือ อุปกรณ์มือถือมีโปรแกรมเบราเซอร์ แต่ในส่วนโปรแกรม Flash ในมือถือไม่มีเพราะตัวโปรแกรมกินพื้นที่ในเครื่องมาก ซึ่งเป็นเหตุผลว่า ทำไม ณ เวลานี้เมื่อเปิดผ่านมือถือเป็นสไลด์จากซ้ายไปขวา หรือ จากขวาไปซ้าย ที่แตกต่างจากการดูแบบ PDF

คำว่า ออฟไลน์ สำหรับการดูอีบุ๊ค หมายถึง ไม่ต้องเชื่อมอินเตอร์เน็ท แต่ในเครื่องที่ดูจะต้องมีไฟล์อีบุ๊คเหล่านี้ ซึ่งจากข้างบนมีทั้งแบบสำหรับใครที่ดูผ่านระบบปฏิบัติการ Windows, Mac. โดยมีการก๊อปปี้ใส่ซีดี แทปไดรฟ เป็นต้น เพื่อดูผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์

ขอขอบคุณ  C. Melchers & Co. (Thailand) Ltd. ที่อนุญาตให้ใช้เป็นตัวอย่างงานอีบุ๊ค
1 Comment

หนังสือตัวรูปเล่มกระดาษไปเป็นอีบุ๊ค ?

6/28/2016

0 Comments

 
หลายคนที่เป็นนนักเขียน เจ้าของสิ่งพิมพ์ มีคำถามอยากทำเป็นอีบุ๊คทำอย่างไร ?
จริงๆแล้ว อีบุ๊ค E-Book เป็นการทำสิ่งพิมพ์เราให้เป็นรูปแบบอิเลคทรอนิกส์ที่ให้คนสามารถเปิดอ่านได้ แต่เปิดแบบไหนว่ากันอีกที เพราะยุคดิจิตอลทำให้เกิดสิ่งหลากหลายและอำนวยความสะดวกมากมาย พร้อมกับคำนิยามอีกเยอะแยะ
ในตัวอีบุ๊ค มีหลากหลายประเภท เช่น ไฟล์ PDF, Word, Excel etc. ถือเป็นอีบุ๊คได้ไหม คำตอบคือ ได้ค่ะ เพียงแต่การแสดงผลไม่เหมือนการเปิดหนังสือจริง
อ้าว ! แล้วที่เห็นเปิดเหมือนจริง และดูมือถือได้ล่ะ นั่นก็เป็นอีบุ๊คใช่ไหม ก็ตอบว่า ใช่ค่ะ เรียกว่า อีบุ๊คที่แสดงผลเสมือนหนังสือจริงๆ หรือจัดเป็นอีกประเภทหนึ่ง สรุปแล้วอีบุ๊คมีหลายประเภทค่ะ แต่ที่เรารู้จัก เช่น amazon, apple, เป็นต้น เพราะเกิดจากแต่ละที่พยายามสร้างรูปแบบของอีบุ๊คกันขึ้นมาทำให้มีรูปแบบได้หลากหลายกันไป และทำให้ต้องมีการโหลดแอฟเพื่อเข้าไปอ่านอีบุ๊คกันได้ เยอะจริงๆๆๆ
ประเภทอีบุ๊ค มีดังนี้
  • 1.1 Broadband eBooks (BBeB)
  • 1.2 Comic Book Archive file
  • 1.3 Compiled HTML
  • 1.4 DAISY – ANSI/NISO Z39.86
  • 1.5 DjVu
  • 1.6 DOC
  • 1.7 DOCX
  • 1.8 EPUB
  • 1.9 eReader
  • 1.10 FictionBook (Fb2)
  • 1.11 Founder Electronics
  • 1.12 Hypertext Markup Language
  • 1.13 iBook (Apple)
  • 1.14 IEC 62448
  • 1.15 INF (IBM)
  • 1.16 KF8 (Amazon Kindle)
  • 1.17 Microsoft LIT
  • 1.18 Mobipocket
  • 1.19 Multimedia eBooks
  • 1.20 Newton eBook
  • 1.21 Open Electronic Package
  • 1.22 Portable Document Format
  • 1.23 Plain text files
  • 1.24 Plucker
  • 1.25 PostScript
  • 1.26 RTF
  • 1.27 SSReader
  • 1.28 Text Encoding Initiative
  • 1.29 TomeRaider
  • 1.30 Open XML Paper Specification
แหล่งอ้างอิง คลิกที่นี่เพื่อดูประเภทอีบุ๊ค

ดังนั้น หากบอกว่า ดูอีบุ๊คบนมือถือด้วย จะเห็นว่า มีการบอกว่า ให้โหลดแอฟ เพื่อจะได้อ่านเหมือนกับอ่านในหนังสือ แต่ข้อเสีย คือเปลื้องพื้นที่ และต้องนั่งดูว่า แอฟไหนใช้อ่านอะไร ไม่สะดวกเลยจ้า
แต่มีการทำอีบุ๊คอีกประเภทที่ไม่ต้องอาศัพแอฟ แต่ต้องใช้เบราเซอร์ดู ซึ่งในที่นี่ต้องเปิดออนไลน์ไว้ถึงจะดูได้จ้า แต่ข้อดีคือไม่เปลืองพื้นที่ในมือถือไม่ต้องจดจำอะไรมากมายๆ ใช้แอฟอะไร เพียงแต่ลูกเล่นไม่เป็นเหมือนอ่านหนังสือหากดูผ่านมือถือเป็นสไลด์ ด้วยข้อจำกัดของเบราเซอร์
แต่ไม่นานคิดว่า น่าจะเปิดอ่านได้เหมือนหนังสือ ไม่จำเป็นต้องใช้แอฟ เพียงแต่เวลาดูผ่านมือถือเป็นสไลด์เท่านั้นเอง
หากสนใจ และอยากทำอีบุ๊ค สามารถติดต่อ หรือ สอบถามได้ที่ บริษัท ทริปเปิ้ล ซิสเต็มส์ จำกัด
ทำได้ในรูปแบบอีบุ๊คเปิดผ่านเบราเซอร์ และดูผ่านอุปกรณ์มือถือต่างๆ สำหรับดูผ่านมือถือเป็นสไลด์ซ้ายไปขวา ส่วนบนพีซีเหมือนเปิดหนังสือ พร้อมทั้งมีอีบุ๊คให้ดูออฟไลน์ สำหรับบนวินโดว์ และเครื่องแมค ที่เปิดดูเหมือนหนังสือโดยใช้ flash ตัวทำให้การเคลื่อนไหวสวยงามเสมือนเปิดหนังสือจริงด้วย

ขออภัยยังไม่ถึงตัวเล่มเลย สำหรับไฟล์ตัวเล่มหนังสือแนะนำให้ผู้เขียน หากเขียนเป็นกระดาษ อยากให้จ้างคนมาพิมพ์ หรือ พิมพ์เองเป็นไฟล์ไว้ เพราะการทำตัวเล่มมีวิธีการทำอีกมากมาย เช่นทำไฟล์ เวลิด แล้วหากต้องการมีหน้าปกสวยๆ ก็ต้องจ้างคนมาออกแบบ หรือ หากต้องการให้รูปเล่มเมื่อพิมพ์มีขนาดหน้ากระดาษ A4 หรือ A5 (ครึ่งหนึ่งของ A4) ซึ่งทำให้จำนวนหน้าไม่เท่ากัน ซึ่งเป็นการจัดวางหน้า หากมีลวดลายต้องให้คนช่วยออกแบบให้ ในส่วนนี้ เป็นการจัดวางหน้า

หลังจากได้รูปเล่มเสร็จ ขั้นตอนต่อไปคือ การพิสูจน์ตัวอักษร คือ ดูคำสะกดตกหล่น แต่ผู้ที่พิสูจน์จะไม่สนใจความหมายอันนี้ก็ยากในมุมคนที่ต้องมาพิสูจน์ตัวอักษร คำสะกดว่าถูกหรือไม่ จึงทำให้ต้องมีต้นฉบับของนักเขียน เพื่อมีข้อมูลในการปรับปรุงต้นฉบับหนังสือ

สุดท้ายมีการรวบรวมเป็นตัวเล่ม และสร้างไฟล์ที่สามารถนำมาพิมพ์เป็นรูปเล่มหนังสือ ที่เป็นกระดาษได้ ส่วนใหญ่ใช้ไฟล์ PDF เพราะไม่มีการแก้ไข

สุดท้ายสามารถนำไฟล์ PDF นี้มาแปลงร่างเป็นอีบุ๊คในรูปแบบต่างๆ แล้วแต่นักเขียนอยากให้เป็นแบบไหน และมีเงื่อนไขในส่วนผลประโยชน์หากวางขาย

ไม่ง่าย แต่ก็ไม่ยากส์

สิ่งที่คนเขียนกล้วในการทำอีบุ๊ค
-กลัวคนก๊อปปี้
-กลัวการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ไม่เป็น
-และอื่นๆ  
ไว้คราวหน้าจะมาเขียนว่า ไม่ควรกลัวเพราะมีหลายสิ่งหลายอย่างเกิดขึ้นเป็นประโยชน์ด้วยซ้ำค่ะ :D
0 Comments

    Author

    เป็นนักเขียนอิสระ สมัครเล่น เขียนจากประสบการณ์ที่ทำ อ่าน จากหนังสือ

    Archives

    February 2019
    July 2016
    June 2016

    Categories

    All

    RSS Feed

  • สมาชิกอ่านฟรี
  • t-libraries ?
Picture
Picture
Picture

Picture
Site supported by  Triple Systems
  • รายชื่อห้องสมุด
  • มุมสาระน่ารู้
    • จากหนังสือเป็นอีบุ๊ค ?
    • ห้องสมุด e-Meeting Solution Conference Solution
    • Food Aroi Blog
      • หม้อทอดไร้น้ำมันเมนูอาหารอร่อยๆๆ
      • รวมเมนูอาหารญ๊่ปุ่นอร่อยๆๆๆ
    • เคล็ดลับเก็บ-ปั่น-สกัดเย็นผักผลไม้ทำอา&
  • ห้องสมุดคาทอลิก
    • สารวัดคาทอลิกอีบุ๊ค
      • วัดพระมหาไถ่ กรุงเทพฯ
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
        • 2019/2562
      • วัดกาลหว่าร์
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
      • วัดเซนต์หลุยส์ กรุงเทพฯ
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
      • วัดพระมารดานิจจานุเคราะห์ คลองจั่น
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
      • วัดนักบุญเปาโล บ้านนา
        • 2022/2565
        • 2021/2564
        • 2020/2563
      • วัดนักบุญเปโตร สามพราน
        • 2022/2565
      • วัดดวงหทัยนิรมลของแม่พระ (วัดปากลัด)
      • วัดนักบุญยอแซฟ ตรอกจันทร์
      • อาสนวิหารอัสสัมชัญ
    • มุมคาทอลิก
  • เกี่ยวกับเรา
    • ติดต่อเรา